วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558

นักวิทยาศาสตร์ดีใจกันใหญ่เมื่อได้รับจดหมายจากนักวิเคราะห์ชื่อดัง

แม้นว่าในช่วงกลางศตวรรษที่ 17 ราชบัณฑิตยสมาคมแห่งอังกฤษ อันเป็นที่รวม “ผู้พิทักษ์แห่งวงการวิทยาศาสตร์” จะเคยตื่นเต้นดีใจกัน ยกใหญ่ เมื่อได้รับจดหมายของนักชีววิทยาชาวดัตช์ชื่อว่า “อังตวน ฟอน เลเวนอุค” ที่มองเห็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กระดับ “จุลินทํรืย์” โผล่ขึ้นมา ในสสารที่มองดูเหมือนไม่มีชีวิต โดยอาศัยการมองผ่าน “กล้องจุลทรรศน์” อันทำให้แนวคิดในเรื่อง “สิ่งมีชีวิตก่อกำเนิดมาจากสิงไม่มีชีวิต” กลาย  ห่วงยางหงษ์ขาว เป็นสรุปที่ดูทันสมัยในระยะนั้น และก่อให้เกิดความพยายามนำเอา “ข้อ พิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์” เข้ามายืนยันแนวความคิดชนิดนี้กันยกใหญ่ เช่น “การต้มซุปเนื้อแกะ” ให้เดือดจนเชื่อว่าไม่เหลือความมีชีวิตอยู่อีกแล้ว หลัง จากนั้นก็เอามาใล่ขวดปิดจุกทิ้งเอาไว้ 3 กัน เมื่อนำนี้าซุปมาตรวจสอบ ด้วยกล้องจุลทรรศน์อีกครั้งก็พบเห็น “จุลินทรีย์” จำนวนมากมาย...แต่ท้ายที่สุดความคิดดังกล่าวก็ถูกเขย่าให้เละเทะแหลกเหลวลงไป อีกครั้ง เมื่อผู้เชี่ยวชาญด้านจุลินทรีย์อย่าง “หลุยส์ ปาสเตอร์” ไม่แน่ใจว่า “ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์” เหล่านี้เกิดขึ้นจากการพิสูจน์ทดลองที่รัดกุม แพยางเป่าลม เพียงใด? ก็เลยลองใช้ขวดแก้วที่งอโค้งมาใส่น้ำซุปแล้วนำไปต้มให้เดือด ทิ้งเอาไว้อีกครั้งโดยไม่ให้อากาศซึ่งเขาเชื่อว่ามีจุลินทรีย์ปะปนอยู่มากมาย มีโอกาสเข้าไปในขวดได้เลย เมื่อนำเอาน้าซุปที่ปราศจากอากาศเข้าไป รบกวนใดๆ ได้เข้ามาแยกแยะตรวจสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์อีกครั้ง ก็ไม่ พบจุลินทรีย์โผล่มา'ให้เห็นแม้แต่ตัวเดียว การสร้างคำอธิบายตามแนว ความคิดว่า “สิ่งมีชีวิตกำเนิดมาจากสิ่งไม่มีชีวิต” ก็เกิดการจนมุมขึ้นมา อีกครั้ง...อย่างไรก็ตาม...ภายใต้ความพยายามสนับสนุนส่งเสริมการค้นคว้า ที่เป็นไปตามรากฐานแนวคิดชนิดนี้อย่างแข็งขัน ก็พอจะทำให้เกิดทฤษฏี ที่ซับช้อนเกินกว่าจะหาข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์มาหักล้างกันได้ง่ายๆ.. ห่วงยางเด็ก .เช่นในปี ค.ศ. 1924 แนวคิดชนิดนี้ได้รับการสนับสนุนกันอีกครั้ง ด้วย การนำเอาผลงานการค้นคว้าของนักเคมีชาวรัสเชียซื่อว่า “อเล็กซานเดอร์ ไอ. โอปาริน” ที่นำเอาแขนงวิชาด้านเคมี,ฟิสิกส์,และธรณีวิทยามาขยำ รวมกัน และปะติดปะต่อเอาไว้ในหนังสือซื่อว่า “กำเนิดแห่งชีวิต” (The Origin Of Life) ด้วยการสร้างภาพจินตนาการเอาไว้ว่า ในช่วงประมาณ 4,000 ล้าน ปีที่แล้ว เมื่อผิวโลกเย็นตัวลงพอที่จะก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตขึ้นมาได้ และ แม่น้าลำธารก็มีปริมาณมากพอที่จะกัดเซาะภูเขา พัดพาตะกอนให้ไป สะสมที่บริเวณหุบเขาและที่ราบลุ่ม สสารที่ไม่มีชีวิตหรือ “สารอนินทรีย์” บางชนิดที่ถูกกระตุ้นด้วยพลังงานดึกดำบรรพ์ก็สามารถวิวัฒนาการตัวเอง อย่างช้าๆ ให้กลายมาเป็น “โมเลกุลของสารอินทรีย์ขนาดเล็ก” ได้ ก่อนที่ จะใช้ช่วงเวลาอีกนับล้านๆ ปีในการกลายมาเป็น “โมเลกุลของสาร

ห่วงยางเล่นน้ำ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น